จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (จุฬาฯ) เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย โดยปัจจุบันได้เปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โท เอก และส่งเสริมการค้นคว้า วิจัย การอนุรักษ์และสนับสนุนศิลปวัฒนธรรม และการบริการทางวิชาการให้แก่สังคม มีการจัดตั้งสถาบันวิจัย สถาบันบริการ ศูนย์และสำนัก เพื่อให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยและพัฒนาตนเองให้ดีที่สุด นอกจากนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สถาบันวิจัยพลังงาน) ร่วมกับ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ดำเนินการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 อีกด้วย ทั้งนี้ โครงการที่มีส่วนเกี่ยวข้องด้านสมาร์ทกริดของ จุฬาฯ สามารถสรุปรายละเอียดสำคัญ
รายละเอียด:
โครงการพัฒนาพื้นที่เขตพาณิชย์และเขตการศึกษาในวาระจุฬาฯ 100 ปี มีแนวคิดแบ่งออกเป็น 5 Smart ดังนี้
- Smart Energy
อาคารเชิงพาณิชย์ทุกอาคารต้องติดตั้ง Solar Rooftop โดยทุกอาคารนำระบบ Smart Building มาใช้งานและเชื่อมกับระบบ Microgrid & AEMS จะทำให้พื้นที่ดังกล่าวเป็น Smart Energy
Smart Energy
- Smart Mobility
นำรถเมล์ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า Toyota HAMO ซึ่งสามารถจองรถผ่าน Application เพื่อสะดวกต่อการใช้งาน และสร้างพื้นที่ทางเท้ามากกว่าพื้นที่ถนน
Smart Mobility
- Smart Community
ภายในพื้นที่อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ แบ่งเป็นโซนต่างๆ เพื่อให้ผู้ที่มาพักผ่อนสามารถเดิน-วิ่งออกกำลังกาย และปั่นจักรยาน
รายละเอียด:
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2564 ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) พร้อมด้วย รศ.ดร.วิศณุ ทรัพย์สมพล รองอธิการบดี จุฬาฯ และคณะผู้บริหารดี DEPA ร่วมเปิดงานแสดงพื้นที่เศรษฐกิจอัจฉริยะต้นแบบ Smart Economy Showcase พื้นที่เขตปทุมวัน ณ สยาม สแควร์วัน
ที่มา:
รายละเอียด:
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2564 ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) พร้อมด้วย รศ.ดร.วิศณุ ทรัพย์สมพล รองอธิการบดี จุฬาฯ และคณะผู้บริหารดี DEPA ร่วมเปิดงานแสดงพื้นที่เศรษฐกิจอัจฉริยะต้นแบบ Smart Economy Showcase พื้นที่เขตปทุมวัน ณ สยาม สแควร์วัน
ที่มา:
รายละเอียด:
สวทช. ได้ร่วมกับ จุฬาฯ และกรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม (วท.กห.) จัดตั้งและดำเนินการศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมแบตเตอรี่ล้ำสมัย ที่ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศเพื่อความมั่นคง เพื่อเป็นหน่วยงานหลักในการวิจัย และเป็นศูนย์กลางในเครือข่ายงานวิจัยนวัตกรรมแบตเตอรี่ ที่ผลิตจากวัตถุดิบภายใน ประเทศ อีกทั้งยังมีการจัดทำโครงการศึกษาความเป็นไปได้การลงทุนจัดตั้งโรงงานต้นแบบแบตเตอรี่สังกะสีไอออนในประเทศไทย และมีแผนจัดสร้างโรงงานต้นแบบแบตเตอรี่สังกะสีไอออน ที่เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EECi (Eastern Economic Corridor of Innovation)
ที่มา:
รายละเอียด:
MEA ดำเนินโครงการศึกษาวิจัย MEA EV Smart Charging System ได้ส่งมอบเครื่องอัดประจุไฟฟ้า MEA EV Charger ขนาด 22 kW จำนวน 50 เครื่องฟรี ให้แก่ผู้ผ่านการคัดเลือกในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ
ที่มา: